สโลแกน กวน ๆ

doggyland.org

Gastritis การ พยาบาล

โรคกระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis) - Coggle Diagram

  1. Peptic ulcer กับ Gastritis แตกต่างกันอย่างไรหรอครับ? | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่
  2. ภาษาอังกฤษ

Peptic ulcer กับ Gastritis แตกต่างกันอย่างไรหรอครับ? | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล) 1 0 คนเห็นว่าคำถามนี้มีประโยชน์ คุณเห็นว่าคำถามนี้มีประโยชน์หรือไม่ ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน เราจะไม่เปิดเผยชื่อและข้อมูลส่วนตัวของคุณ

สาระความรู้กลุ่ม CoP เวชศาสตร์ฟื้นฟูดูแลการกลืน (Rehabilitation Swallowing Team) เรื่อง การจัดท่าทางให้เหมาะสมสำหรับการรับประทานอาหารในผู้ที่เสี่ยงต่อภาวะสำลักอาหาร >>คลิกดาวน์โหลด<< ร่วมส่งกำลังใจให้เจ้าของผลงาน [Total: 1 Average: 5] Views: 677

ภาษาอังกฤษ

การป้องกันการเกิดซ้ำ คือการป้องกันสาเหตุของโรคกระเพาะอาหารอักเสบ โดยหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความเครียด หรือยาแก้ปวดข้อ การออกกำลังกายเพื่อให้สุขภาพแข็งแรงก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการป้องกันโรค 4. การป้องกันภาวะแทรกซ้อน ส่วนใหญ่ภาวะแทรกซ้อนมักเกิดจากยาแก้ปวดข้อ เนื่องจากยานี้จะลดอาการปวดได้ขณะที่ยากัดกระเพาะ ทำให้อาการปวดท้องซึ่งเป็นอาการเตือนถูกบดบัง ภาวะแทรกซ้อนมักเกิดในผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นแผลในกระเพาะมาก่อน ผู้ป่วยที่รับประทานยาชุด-ยาลูกกลอน เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นมา การรักษามักจะต้องใช้การส่องกล้องรักษาหรืออาจต้องผ่าตัดถ้ามีกระเพาะอาหารทะลุ

5-1 mg ทุก 6-8 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักไม่ต้องการขนาดยาสูงเกิน 4 mgต่อวัน ก็สามารถจะควบคุมอาการคลื่นไส้อาเจียนได้ ผลข้างเคียงที่สำคัญ คือ อาการง่วงซึม, Extrapyramidal side effects, QT prolongation, neuroleptic malignant syndrome นอกจากนั้นในผู้ป่วยที่มีปัญหาตับวายหรือไตวาย ควรลดขนาดยาลงครึ่งหนึ่งของขนาดปกติ ิ - ยากลุ่มอื่นๆที่อาจจะใช้ร่วมกับยากลุ่มข้างต้นคือ Steroids (ยังไม่ทราบกลไลการออกฤทธิ์ แนะำนำให้ใช้ช่วงสั้นๆ เพื่อบรรเทาอาการ และลดขนาดยาลงเมื่ออาการของผู้ป่วยดีขึ้น), Benzodiazipine (ในกรณีที่สงสัยว่าความวิตกกังวลอาจจะทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน) การดูแลอื่นๆ ทำได้อย่างไร? คำแนะนำในการดูแลอื่นๆ ได้แก่ อาหารที่ผู้ป่วยรับประทาน ควรจะเป็นอาหารที่ไม่มีกลิ่นรุนแรง หรือมีรสจัด เพราะอาจจะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนได้มากขึ้น จัดสถานที่และลักษณะของอาหารให้น่ารับประทาน หลีกเลี่ยงการพูดคุยในสิ่งที่อาจจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกวิตกกังวลในช่วงเวลารับประทานอาหาร อย่าใส่เสื้อผ้าที่คับจนเกินไป โดยเฉพาะในส่วนท้อง พยายามระวังอย่าให้มีอาการท้องผูก รับประทานอาหารมื้อละไม่มากจนเกินไป แต่ให้รับประทานบ่อยๆ แทน เช่น อาจจะมีของว่างระหว่างมื้อ Reference: PA, Dunwoodie D, Clark K, Ward A, Yates P, Ryan S, et al.

  1. ยุง หายใจ ทาง ไหน
  2. Lumina ok meter set combo ราคา 1
  3. Lion air ปล่อยโปรบินสู่สิงคโปร์ ขาไป เริ่ม1,060บาท รวมทุกอย่างแล้ว - PALAPILII-THAILAND
  4. Gastritis การ พยาบาล จุฬาลงกรณ์
  5. Nausea and vomitting | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  6. พิธี รื้อ ถอน บ้าน 2
  7. Gastritis การ พยาบาล การ์ตูน
  8. ต นครสวรรค์ ตก
  9. กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastiritis)

กระเพาะอาหารอักเสบ นพ. มงคล หงษ์ศิรินิรชร แผนกอายุรกรรม (โรคระบบทางเดินอาหาร) รพ. วิภาวดี นิยาม กระเพาะอาหารอักเสบ(Gastiritis) คือ การอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหารจากกรดภายในกระเพาะ ซึ่งคนทั่วไปมักจะเรียกกันว่า"โรคกระเพาะ" พบประมาณ 10%ของประชากร เพศชายพบมากกว่าเพศหญิง สาเหตุ กลไกของการเกิดกระเพาะอาหารอักเสบเกิดจากการหลั่งกรดที่มากขึ้น(Hyperacidity)และคั่งค้างอยู่นานในกระเพาะ(Delay gastric emptying time) ก่อให้เกิดการบาดเจ็บของเยื่อบุกระเพาะอาหาร มีสาเหตุจาก 1. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. ยาแก้ปวดข้อ เช่น Aspirin, Ibuprofen หรือยาซองแก้ปวด 3. ความเครียดรุนแรง 4.

ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานควรงดยาเบาหวานในเช้าวันนั้น สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถรับประทานยาลดความดันโดยดื่มน้ำเปล่าเล็กน้อย หากมีฟันปลอมชนิดถอดได้ควรถอดเพื่อป้องกันฟันปลอมหลุดเข้าไปในช่องลำคอหรือหลอดลม การรักษา จุดประสงค์ของการรักษากระเพาะอาหารอักเสบ คือ 1. บรรเทาอาการปวดท้อง 2. รักษาการอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหาร 3. ป้องกันการเกิดซ้ำ 4. ป้องกันภาวะแทรกซ้อน 1. การบรรเทาอาการปวดท้อง ใช้หลักการของด่างมาสะเทิ้นกรดภายในกระเพาะ ยาที่นิยมใช้คือยาธาตุน้ำขาว(Alum milk) หรือใช้เป็นยาเม็ดอลูมิเนียม ไฮดรอกไซด์ก็ได้ผลเช่นกัน ซึ่งในกรณีของยาเม็ดควรเคี้ยวก่อนกลืนเพราะยาเม็ดบางชนิดแตกตัวในกระเพาะอาหารช้า ยากลุ่มนี้จะรับประทานก่อนอาหาร 3เวลา หรืออาจรับประทานเพิ่มเติมเมื่อมีการปวดระหว่างมื้อ นอกจากนี้ควรเลี่ยงอาหารรสจัด น้ำอัดลม กาแฟซึ่งอาจกระตุ้นอาการปวดท้อง 2. การรักษาการอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหาร ใช้ยารักษานาน 14วัน นิยมใช้ยาลดการหลั่งกรด(Acid suppression) ได้แก่ ยากลุ่ม H2 receptor antagonists หรือยากลุ่ม Proton pump inhibitors เพราะหาซื้อได้สะดวกตามร้านขายยา ส่วนยากลุ่ม Cytoprotective เช่น Sucralfate หรือ Bismuth ก็สามารถใช้ได้ 3.

Wed, 08 Jun 2022 21:16:03 +0000