สโลแกน กวน ๆ

doggyland.org

ทางด่วน พิเศษ ฉลอง รัช — ทางด่วน “ฉลองรัช-สระบุรี” เริ่มแล้ว บอร์ด กทพ.วางงบออกแบบ 380 ล้านบาท

เผยแพร่: 19 เม. ย. 2564 14:37 ปรับปรุง: 19 เม.

Wikizero - ทางพิเศษฉลองรัช

เหลือ 17 กม. หรือปรับลดลง 2 กม. ส่งผลกรอบวงเงินลงทุนรวมปรับลดลงจาก 2 หมื่นล้านบาท เหลือเพียง 1. 9 หมื่นล้าน หรือลดลง 1 พันล้านบาท รายงานข่าวจากกทพ. กล่าวว่า ที่ผ่านมา กทพ. กำหนดวงเงินลงทุนก่อสร้าง เฟส1 ไว้ที่ 2 หมื่นล้านบาท ระยะทางรวม 19 กม. แต่ภายหลังปรับแบบระยะทาง ปรับลดลง 2กม. ส่งผลให้กรอบวงเงินลงทุน ปรับลดลงจาก 2 หมื่นล้านบาท เหลือเพียง 1. 9 หมื่นล้านบาท หรือลดลง 1 พันล้านบาท โดยแบ่งวงเงินออกเป็น 2 ส่วน คือค่าก่อสร้าง 1. 74 หมื่นล้านบาท ซึ่งจะกทพ. จะลงทุนเองทั้งหมด และค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน 1. 6 พันล้านบาท ซึ่งต้องขอสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างหารือกับกระทรวงการคลังถึงแหล่งเงินทุน และกรอบวินัยการเงินการคลังเกี่ยวกับสถานะหนี้สาธารณะของไทย "จะใช้รูปแบบการออกพันธบัตรระดมทุน วงเงิน 1. 74 หมื่นล้านบาท เนื่องจากมีต้นทุนทางการเงินที่ต่ำที่สุดในขณะนี้ คือมีอัตราดอกเบี้ยที่เพียง 2-3% เท่านั้น รวมทั้งเงินทุนที่ กทพ. ระดมทุนผ่านกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทย ไทยแลนด์ ฟิวเจอร์ ฟันด์ (TFFIF) ขณะนี้ได้นำมาใช้จ่ายดำเนินโครงการอื่นๆหมดแล้ว" ทั้งนี้งานออกแบบรายละเอียดก่อสร้างจะแล้วเสร็จ ช่วงเม.

๕ กิโลเมตร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๒ เริ่มจากถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันออก บริเวณจตุโชติ ทิศใต้ของทางแยกต่างระดับลำลูกกา มุ่งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ยกระดับข้ามถนนสุขาภิบาล ๕ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จนถึงถนนรามอินทรา บริเวณกิโลเมตรที่ ๕. ๕ เชื่อมต่อกับทางพิเศษฉลองรัชช่วงรามอินทรา - อาจณรงค์ ซึ่งเป็นส่วนต่อขยายของทางพิเศษฉลองรัชทางด้านเหนือ และเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ได้มีพระบรมราชานุญาตให้ทางพิเศษสายนี้ใช้ชื่อทางการว่า "ทางพิเศษฉลองรัช" เช่นเดียวกับทางพิเศษช่วงรามอินทรา - อาจณรงค์ อัตราค่าผ่านทางพิเศษ กทพ. ได้ปรับอัตราค่าผ่านทางทางพิเศษฉลองรัชใหม่ เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๒ เนื่องจากทางพิเศษฉลองรัชมีการเปิดให้บริการเพิ่มจากรามอินทราถึงวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม โดย กทพ. รับภาระแทนผู้ใช้บริการ) หน่วย: บาท เส้นทาง อัตราค่าผ่านทาง (หน่วย: บาท) รถ ๔ ล้อ รถ ๖ - ๑๐ ล้อ รถมากกว่า ๑๐ ล้อ ทางพิเศษฉลองรัช ช่วงรามอินทรา-อาจณรงค์ ๔๐ ๖๐ ๘๐ * ยกเว้นด่านลาดพร้าว ด่านพระราม ๙-๑ (ฉลองรัช และด่านพระราม ๙-๒) ๓๐ ๕๐ ๗๐ ทางพิเศษฉลองรัช ช่วงรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพ-มหานคร * ยกเว้นด่านรามอินทรา ๑ และด่านสุขาภิบาล ๕-๒ ๒๐ ข้อมูลแบบละเอียด เป็นทางยกระดับขนาด ๖ ช่องจราจร มีระยะทาง ๒๘.

ทางพิเศษฉลองรัช (Chalong Rat Expressway) - ถนน ใน Wang Thonglang

89 (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2564) และเตรียมปรับปรุงกายภาพหน้าด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ ทางพิเศษฉลองรัช เพื่อรองรับระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษ M-Flow สำหรับการปรับปรุงด่านเก็บค่าผ่านทางระยะที่ 1 บนทางพิเศษฉลองรัช จำนวน 3 ด่าน ประกอบด้วย ด่านสุขาภิบาล 5-1, ด่านสุขาภิบาล 5-2 และด่านจตุโชติ ตามลำดับ ในช่วงระหว่างวันที่ 10 มกราคม – มีนาคม 2565 ดังนี้ ​1. ด่านสุขาภิบาล 5-1 ตั้งแต่ วันที่ 10 – 30 มกราคม 2565 ​2. ด่านสุขาภิบาล 5-2 ตั้งแต่ วันที่ 24 มกราคม – 13 กุมภาพันธ์ 2565 ​3. ด่านจตุโชติ ตั้งแต่ วันที่ 24 มกราคม – 5 มีนาคม 2565 ​ ข่าวที่น่าสนใจ

  • ราคา crv g4
  • ข่าวดี กทพ.จ่อปรับปรุง ด่านฉลองรัช รับ "M-Flow"
  • รถ wave 125i reviews
  • พัดลม mira 8 นิ้ว 1
  • กทพ.เร่งออกแบบทางด่วน'ฉลองรัช-นครนายก-สระบุรี'เฟสแรกให้เสร็จปลายปีนี้

ฉลองรัช-นครนายก-สระบุรี ทางด่วนในฝันที่ใกล้กรุงฯ

74 อ. วังน้อย จ. พระนครศรีอยุธยา ถึงถนนเทพรัตน กม. 23 อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ จุดขึ้น-ลงถนนองครักษ์-บางน้ำเปรี้ยว บริเวณสถานีพัฒนาที่ดินนครนายก อ. องครักษ์ จ. นครนายก แยกซ้ายไป อ. องครักษ์ 2 กิโลเมตร ต่อเนื่องไปยังมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) องครักษ์ แยกขวาไป อ. บางน้ำเปรี้ยว จ. ฉะเชิงเทรา 32 กิโลเมตร กรมทางหลวงชนบทขยายเป็นถนน 4 เลน ถึงสี่แยกบางน้ำเปรี้ยว ตรงไปอีก 18 กิโลเมตรถึงตัวเมืองฉะเชิงเทรา จุดขึ้น-ลงถนนรังสิต-นครนายก (บางอ้อ) กิโลเมตรที่ 59+800 ใกล้กับแยกบางอ้อ แยกซ้ายไป อ. องครักษ์ แยกขวาไปตัวเมืองนครนายก 15 กิโลเมตร และ จ. ปราจีนบุรี ประมาณ 45 กิโลเมตร จุดนี้จะมีศูนย์บริการทางพิเศษ (Service Center) เป็นจุดพักรถที่มีปั๊มน้ำมัน ร้านค้า ห้องน้ำสาธารณะ อาคารศูนย์ควบคุม และสถานีตำรวจ จุดขึ้น-ลงถนนสุวรรณศร (บ้านนา) กิโลเมตรที่ 116 จ่ายเงินที่ด่านแล้ว ถ้าเลี้ยวซ้ายจะไปโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร. ) 14 กิโลเมตร ตัวเมืองนครนายก 16 กิโลเมตร ผ่านถนนสุพรรณิการ์ ไปยังแหล่งท่องเที่ยว น้ำตกสาริกา น้ำตกนางรอง และเขื่อนขุนด่านปราการชล แต่ถ้าขึ้นสะพานแยกขวาไปหินกอง 28 กิโลเมตร จุดขึ้น-ลงแก่งคอย เชื่อมกับมอเตอร์เวย์หมายเลข 6 (บางปะอิน-นครราชสีมา) กิโลเมตรที่ 53+500 แยกขวาเข้ามอเตอร์เวย์ ไปปากช่อง สีคิ้ว และตัวเมืองนครราชสีมา ขากลับจะมีทางเชื่อมระหว่างขาออกนครราชสีมา เข้าทางพิเศษทิศทางไปกรุงเทพฯ โดยเฉพาะ จุดขึ้น-ลงทางเลี่ยงเมืองสระบุรี (ถนนบายพาสฝั่งตะวันออก) ใกล้ตลาดโรงเกลือ-โบ๊เบ๊ สระบุรี จ่ายเงินที่ด่านแล้ว แยกซ้ายไปถนนพหลโยธิน แต่ถ้าขึ้นสะพานแยกขวาไป จ.

ย. ปี 2565 โดยระหว่างนี้ต้องเร่งทำ EIA ช่วง 2 กม. คาดว่าจะใช้เวลาอีก 6เดือน ซึ่งจะทำให้โครงการล่าช้าจากแผนเดิม ตั้งเป้าจะเสนอโครงการให้คณะรัฐมนตรีอนุมัติในช่วง พ. 2565 ช้ากว่าแผนเดิมที่จะเสนอภายในปีนี้ จากนั้นจะเข้าสู่ขบวนการเสนอร่าง พ. ร. ฎ. เพื่อจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินในช่วงก. 2565 -ธ. 65 คาดว่าเปิดประมูลหาผู้รับจ้างก่อสร้างได้ในช่วง เม. 2566 เริ่มงานก่อสร้าง ม. 2567 แล้วเสร็จและเปิดให้บริการ ธ. 2569 ช้ากว่าแผนเดิมที่ตั้งเป้าจะเปิดบริการในปี 2568" สำหรับโครงการดังกล่าว เป็นโครงการที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาจราจรติดขัดในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นครนายก และสระบุรี รวมทั้งเป็นการเพิ่มโครงข่ายทางด่วน เพื่อให้ผู้ใช้รถที่มาจากภาคอีสาน และสระบุรี สามารถเดินทาง เข้าและออกกรุงเทพมหานคร ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น ข่าวที่น่าสนใจ

นาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เผยด้วยว่า การขยายเวลาการให้ส่วน ลดค่าผ่านทางพิเศษ ที่ด่านพระราม 9-1 (ฉลองรัช) ซึ่งเป็นด่านในทางพิเศษฉลองรัชที่เชื่อมต่อรับรถที่มาจากทางพิเศษศรีรัช ส่วน D ทั้งฝั่งอโศกและฝั่งศรีนครินทร์ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2543 ซึ่ง กทพ. ได้มีแนวทางที่จะให้ส่วนลดค่าผ่านทางพิเศษของ ทางพิเศษฉลองรัช แก่ผู้ใช้ทางพิเศษ จำนวน 10 บาทต่อเที่ยว สำหรับรถทุกประเภท ที่มาจาก ทางพิเศษศรีรัช ส่วน D เพื่อเข้าสู่ทางพิเศษฉลองรัชที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระราม 9-1 (ฉลองรัช) โดยมีการให้ส่วน ลดค่าผ่านทาง ตั้งแต่เริ่มเปิดให้บริการเป็นต้นมาต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เพื่อส่งเสริมให้มีการเดินทางโดยใช้โครงข่ายทางพิเศษเชื่อมต่อกันอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการช่วยลด ภาระค่าผ่านทางพิเศษ ของผู้ใช้ทางพิเศษในการเดินทางข้ามระบบบนทางพิเศษ ทั้งนี้ ในปี 2565 กทพ. ยังคงให้ส่วนลดค่าผ่านทาง จำนวน 10 บาทต่อเที่ยว จากอัตรา 40/60/80 บาท สำหรับรถยนต์ 4 ล้อ รถยนต์ 6-10 ล้อ และรถยนต์มากกว่า 10 ล้อ เป็นอัตรา 30/50/70 บาท ออกไปอีก 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2565 ซึ่งจะเป็นอีกมาตรการหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือผู้ใช้ทางพิเศษในช่วงเวลานี้ ทั้งนี้ ในช่วง เทศกาลวันหยุด ต่อเนื่อง เทศกาลปีใหม่ 2565 กทพ.

Wed, 08 Jun 2022 21:40:13 +0000